โรคไข้กาฬหลังแอ่น มีชื่อภาษาอังกฤษที่รู้จักกันทั่วไป คือ Meningococcal Meningitis เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Neisseria meningitidis ส่วนชื่ออื่นที่อาจจะพบในตำราหรือเอกสารทางวิชาการต่างประเทศ ได้แก่ Cerebrospinal Fever, Cerebrospinal Meningitis, Meningococcal infection, Meningococcemia โรคนี้เป็นโรคเยื่อหุ้มสมอง อักเสบที่มีสาเหตุจากเชื้อแบคทีเรีย ความสำคัญทางด้านสาธารณสุขของประเทศ คือ เป็นโรคประจำถิ่นชนิดหนึ่งที่พบได้ประปรายในประเทศไทยและเป็นโรคติดต่ออันตรายถ้าผู้ป่วยไม่ได้รับการ รักษาอย่างทันท่วงที
ในประเทศไทยอุบัติการณ์ของโรคไข้กาฬหลังแอ่นค่อนข้างต่ำเมื่อเปรียบเทียบกับโรคติดต่ออื่น ๆ
โดยมีอัตราป่วยอยู่ระหว่าง 0.03-0.19 ต่อแสนประชากร และมีอัตราป่วย ตาย (Case Fatality Rate) ประมาณร้อยละ 15-20 โดยมีประเด็นที่น่าสนใจต่อการศึกษาโรคนี้ 4 ประการ คือ
1. เป็นโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบที่ทำให้ผู้ป่วยตายได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยเด็ก
2. แนวโน้มการรายงานโรคมีมากขึ้น โดยพิจารณาจากสถิติการรายงานย้อนหลัง 12 ปี
3. เชื้อที่เป็นสาเหตุของโรคนี้มีอัตราดื้อต่อยารักษาในกลุ่มซัลฟาค่อนข้างสูง
4. เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานให้ความสนใจต่อการเกิดและการกระจายของโรคนี้น้อย อาจเนื่องมาจาก
จำนวนที่รับรายงานมีน้อยและโรคนี้สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน
การวินิจฉัย :
โดยเพาะเชื้อได้ในเลือด, น้ำไขสันหลัง หรือจากตำแหน่งที่มีการติดเชื้อ
การรักษา
โดยให้ยาปฏิชีวนะ Penicillin ฉีดเข้าทางหลอดเลือด 7 - 10 วัน การป้องกัน สำหรับผู้ที่อยู่ใน
ครอบครัวเดียวกับผู้ป่วย โดยให้กินยา Rifampicin (สำหรับผู้ที่จะกินยาป้องกันให้ปรึกษาแพทย์ )
วัคซีน ปัจจุบันมีวัคซีนป้องกันแล้วแต่ใช้ ไม่ได้ผลในเด็กไทยเพราะเชื้อเป็นคนละชนิดกับวัคซีน
ซึ่งผลิตมาจากต่างประเทศ วัคซีนนี้ใช้ฉีด เฉพาะนักท่องเที่ยวที่จะเดินทางไปยังประเทศที่มีโรคนี้
ชุกชุมมีปัญหาสุขภาพ
อาการของโรค ผู้ป่วยจะมีอาการ
ปวดศรีษะ เจ็บคอ และไอนำมาก่อน ตามด้วยไข้สูง หนาวสั่น ปวดตามข้อและกล้ามเนื้อโดยเฉพาะที่ขาและหลัง ผู้ป่วยส่วนใหญ่มีเลือดออกใต้ผิวหนังเป็นจุดแดงทั่วตัว ต่อมาเปลี่ยนเป็นจุดสีคล้ำจนกลายเป็นสะเก็ดสีดำ บางรายมีอาการรุนแรงช็อคถึงตายได้ในเวลา ไม่เกิน 24 ชั่วโมงหลังจากเริ่มมีอาการ
สถานการณ์ของโรค
อุบัติการณ์ของโรคตามพื้นที่
1. โรคนี้มีรายงานทั่วโลก
2. ไม่จำกัดตามลักษณะภูมิประเทศโดยมีรายงานทั้งเขตอบอุ่นและเขต ร้อน
3. การระบาดของโรคมักจะเกิดในเขตที่มีอาการร้อนแห้ง ส่วนการเกิดโรคในเขตเมืองพบได้
บ่อยกว่าในพื้นที่อื่น
อุบัติการณ์ของโรคในคน
การเกิดโรคในคนพบได้ทุกกลุ่มอายุ ในประเทศไทยจากรายงานเฝ้าระวังโรคของกองระบาดวิทยาพบว่า ผู้ป่วยโรคนี้มีรายงานทุกกลุ่มอายุ ตั้งแต่แรกเกิดเป็นต้นไป กลุ่มอายุที่มีรายงาน การป่วยมากกว่ากลุ่มอื่น ๆ คือ กลุ่มอายุ 15-24 ปี และ 25-34 ปี และพบว่ากลุ่มบุคคลที่ทำงานหรือ อาศัยอยู่รวมกันอย่างแออัดมีโอกาสเกิดโรคมากกว่ากลุ่มอื่น ๆ เช่น กลุ่มของทหารที่อยู่ในค่ายเด็ก ในโรงเลี้ยงเด็ก หรือในโรงเรียน เป็นต้น
อุบัติการณ์ของโรคตามเวลา
โรคนี้เป็นทั้งโรคประจำถิ่นและอาจมีการระบาดเป็นช่วง ๆ มีรูปแบบการกระจายของโรค ไม่แน่นอน ในประเทศทางตะวันตกพบผู้ป่วยมากในช่วงฤดูหนาวและฤดูใบไม้ผลิ แต่ในประเทศ ไทยมีรายงานจำนวนผู้ป่วยประปรายตลอดปีและมีมากขึ้นในฤดูฝน
การเกิดและการกระจายของโรค
ประเด็นที่ควรนำมาพิจารณามีอยู่ 3 ประการ คือ
1. เกี่ยวกับตัวเชื้อโรคที่เป็นสาเหตุ การติดต่อของโรคและสภาพภูมิคุ้มกันของคน
2. เชื้อที่เป็นสาเหตุ
3. เป็นจุลินทรีย์พวกแบคทีเรียในกลุ่ม Neisseria Meningitidis เชื้อนี้มีคุณลักษณะสำคัญ
ที่ควร ทราบดังนี้
คุณลักษณะทั่วไป
ปัจจุบันเชื้อโรคนี้แบ่งออกตามลักษณะทาง Serology ได้เป็น 9 Serogroups ได้แก่ Serogroups A, B, C, D, X, Y, Z, 29-E และ W-135 แต่ที่พบว่าเป็นสาเหตุของการเกิดโรคทั่วไป มักจะพบเพียง 3 Serogroups คือ A, B และ C เท่านั้น
รูปร่างลักษณะของเชื้อ
เป็นแบคทีเรียที่มีรูปทรงกลมอยู่กันเป็นกลุ่ม (diplococcus) ย้อมติดสีกรัมลบ (gram negative) อาศัยอยู่ในเซลล์ (intracellular) ไม่เคลื่อนไหว (non-motile) และไม่สร้างสปอร์ (nonspore3-forming) สามารถสร้างพิษในตัวเอง (endotoxin) จะปล่อยพิษออกมาเมื่อตัวเชื้อ ถูกทำลาย ระยะฟักตัวของโรค อยู่ระหว่าง 2-10 วัน ส่วนมากจะประมาณ 3-4 วัน รังโรค คือ คน ผู้ป่วยและผู้ที่เป็นพาหนะ เป็นรังโรคที่สำคัญ โดยเฉพาะผู้ที่เป็นพาหนะที่ มีลักษณะทั่วไปเหมือนคนปกติ (Healthy carriers) เป็นกลุ่มคนที่มีความสำคัญมาก ประมาณการว่า อัตราของผู้ที่เป็นพาหนะ อาจพบได้ตั้งแต่ร้อยละ 1 ถึง 90 คนเหล่านี้อาจพบมีเชื้ออยู่ในร่างกายได้ นานถึง 6 เดือนโดยไม่มีอาการของโรค
วิธีการติดต่อโรค คือ การติดต่อโดยตรง (direct transmission) จากการหายใจรดกัน
ในระยะ ใกล้ชิด จากการไอหรือจาม นอกจากนี้ยังสามารถติดต่อโดยตรงจากสิ่งขับจากจมูกหรือลำคอของ ผู้ป่วยหรือผู้ที่เป็นพาหะ เช่น น้ำมูก น้ำลาย เสมหะ และน้ำกลั้วคอ เป็นนิด จำเป็นต้องวินิจฉัยแยกโรค เชื้อโรคเหล่านี้ได้แก่
1. Hemolytic streptococci และ streptococci ชนิดอื่น ๆ
2. Haemophilus influenzae
3. Staphyllococcus aureus
4. Escherrichia coli
ประเด็นที่ควรนำมาพิจารณามีอยู่ 3 ประการ คือ
1. เกี่ยวกับตัวเชื้อโรคที่เป็นสาเหตุ การติดต่อของโรคและสภาพภูมิคุ้มกันของคน
2. เชื้อที่เป็นสาเหตุ
3. เป็นจุลินทรีย์พวกแบคทีเรียในกลุ่ม Neisseria Meningitidis เชื้อนี้มีคุณลักษณะสำคัญ
ที่ควร ทราบดังนี้
คุณลักษณะทั่วไป
ปัจจุบันเชื้อโรคนี้แบ่งออกตามลักษณะทาง Serology ได้เป็น 9 Serogroups ได้แก่ Serogroups A, B, C, D, X, Y, Z, 29-E และ W-135 แต่ที่พบว่าเป็นสาเหตุของการเกิดโรคทั่วไป มักจะพบเพียง 3 Serogroups คือ A, B และ C เท่านั้น
รูปร่างลักษณะของเชื้อ
เป็นแบคทีเรียที่มีรูปทรงกลมอยู่กันเป็นกลุ่ม (diplococcus) ย้อมติดสีกรัมลบ (gram negative) อาศัยอยู่ในเซลล์ (intracellular) ไม่เคลื่อนไหว (non-motile) และไม่สร้างสปอร์ (nonspore3-forming) สามารถสร้างพิษในตัวเอง (endotoxin) จะปล่อยพิษออกมาเมื่อตัวเชื้อ ถูกทำลาย ระยะฟักตัวของโรค อยู่ระหว่าง 2-10 วัน ส่วนมากจะประมาณ 3-4 วัน รังโรค คือ คน ผู้ป่วยและผู้ที่เป็นพาหนะ เป็นรังโรคที่สำคัญ โดยเฉพาะผู้ที่เป็นพาหนะที่ มีลักษณะทั่วไปเหมือนคนปกติ (Healthy carriers) เป็นกลุ่มคนที่มีความสำคัญมาก ประมาณการว่า อัตราของผู้ที่เป็นพาหนะ อาจพบได้ตั้งแต่ร้อยละ 1 ถึง 90 คนเหล่านี้อาจพบมีเชื้ออยู่ในร่างกายได้ นานถึง 6 เดือนโดยไม่มีอาการของโรค
วิธีการติดต่อโรค คือ การติดต่อโดยตรง (direct transmission) จากการหายใจรดกัน
ในระยะ ใกล้ชิด จากการไอหรือจาม นอกจากนี้ยังสามารถติดต่อโดยตรงจากสิ่งขับจากจมูกหรือลำคอของ ผู้ป่วยหรือผู้ที่เป็นพาหะ เช่น น้ำมูก น้ำลาย เสมหะ และน้ำกลั้วคอ เป็นนิด จำเป็นต้องวินิจฉัยแยกโรค เชื้อโรคเหล่านี้ได้แก่
1. Hemolytic streptococci และ streptococci ชนิดอื่น ๆ
2. Haemophilus influenzae
3. Staphyllococcus aureus
4. Escherrichia coli
ระยะเวลาการติดต่อของโรค
โรคนี้สามารถติดต่อได้ตลอดเวลาที่พบเชื้อในจมูกหรือลำคอ ของผู้ป่วยหรือผู้ที่เป็นพาหนะหรือผู้สัมผัสใกล้ชิดสภาพภูมิคุ้มกันในคน เชื้อโรคนี้สามารถกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันได้ และมีการ ค้นพบวัคซีนหลายชนิดสำหรับป้องกันและควบคุมโรคนี้ได้ เช่น bivalent A-C, quadivalent A, C, Y และ W-135จากการศึกษาในต่างประเทศ พบว่าอัตราการเกิดโรคระยะที่สอง (Secondary attack rate) ของผู้สัมผัสใกล้ชิด (โดยเฉพาะในครัวเรือนเดียวกัน) มีประมาณร้อยละ 1-6 และอาจมีความ สัมพันธ์กับกลุ่มอายุด้วย คือ กลุ่มอายุต่ำกว่า 5 ปี มีโอกาสติดเชื้อและป่วยสูงถึงร้อยละ 10 กลุ่มอายุ 5-17 ปี มีโอกาสติดโรคต่ำกว่าร้อยละ 10 กลุ่มอายุ 18 ปีขึ้นไปมีโอกาสติดโรคต่ำกว่าร้อยละ 1
การป้องกันและควบคุมโรค
ควรดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคใน 2 ระยะ คือ
1. การดำเนินการขณะที่โรคสงบการที่โรคสงบ ในที่นี้หมายถึง ยังไม่มีรายงานผู้ป่วยในพื้นที่ซึ่งอาจยังไม่มีการติดเชื้อหรือ อาจมีการติดเชื้อเกิดขึ้นแล้วแต่ยังไม่แสดงอาการของโรคไข้กาฬหลังแอ่นอัตราผู้ติดเชื้อแต่ไม่ แสดงอาการ อาจสูงถึงร้อยละ 60
โรคนี้สามารถติดต่อได้ตลอดเวลาที่พบเชื้อในจมูกหรือลำคอ ของผู้ป่วยหรือผู้ที่เป็นพาหนะหรือผู้สัมผัสใกล้ชิดสภาพภูมิคุ้มกันในคน เชื้อโรคนี้สามารถกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันได้ และมีการ ค้นพบวัคซีนหลายชนิดสำหรับป้องกันและควบคุมโรคนี้ได้ เช่น bivalent A-C, quadivalent A, C, Y และ W-135จากการศึกษาในต่างประเทศ พบว่าอัตราการเกิดโรคระยะที่สอง (Secondary attack rate) ของผู้สัมผัสใกล้ชิด (โดยเฉพาะในครัวเรือนเดียวกัน) มีประมาณร้อยละ 1-6 และอาจมีความ สัมพันธ์กับกลุ่มอายุด้วย คือ กลุ่มอายุต่ำกว่า 5 ปี มีโอกาสติดเชื้อและป่วยสูงถึงร้อยละ 10 กลุ่มอายุ 5-17 ปี มีโอกาสติดโรคต่ำกว่าร้อยละ 10 กลุ่มอายุ 18 ปีขึ้นไปมีโอกาสติดโรคต่ำกว่าร้อยละ 1
การป้องกันและควบคุมโรค
ควรดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคใน 2 ระยะ คือ
1. การดำเนินการขณะที่โรคสงบการที่โรคสงบ ในที่นี้หมายถึง ยังไม่มีรายงานผู้ป่วยในพื้นที่ซึ่งอาจยังไม่มีการติดเชื้อหรือ อาจมีการติดเชื้อเกิดขึ้นแล้วแต่ยังไม่แสดงอาการของโรคไข้กาฬหลังแอ่นอัตราผู้ติดเชื้อแต่ไม่ แสดงอาการ อาจสูงถึงร้อยละ 60
การป้องกันโรคในระยะนี้มีวิธีการหลักอยู่
3 ประการ คือ
1. การรณรงค์สร้างเสริมภูมิต้านทานของร่างกาย
2. การให้วัคซีน
3. การเฝ้าระวังโรคการเฝ้าระวังโรคตามวิธีการสำคัญ 2 วิธี คือ การเฝ้าระวังเชิงรุก (active
surveillance) และการเฝ้าระวังเชิงรับ (passive surveillance) ด้านอาการทางคลินิกนั้นพบว่า โรคนี้เป็นโรคติดเชื้อแบคทีเรียชนิดเฉียบพลัน มีอาการสำคัญคือ มีไข้ ปวดศีรษะอย่างรุนแรง มีผื่นเลือดออกใต้ผิวหนัง
(petechial rash) อาการทางสมองที่สำคัญคือ คอแข็ง เพ้อคลั่ง อาเจียน หมดสติ
การตรวจสอบทางห้องปฏิบัติการ
1. การเพาะเชื้อ โดยเก็บวัตถุตัวอย่างไขสันหลัง เลือด หรือสิ่งขับจากจมูกและลำคอ นำมาเพาะเลี้ยงในอาหารพิเศษ
2. การย้อมสีกรัม เนื่องจากคุณสมบัติของเชื้อกลุ่มนี้จะย้อมติดสีกรัมลบ (gram negative) ตรวจโดยนำเลือดที่สะกิดจากผื่นมาป้ายสไลด์ย้อมสีกรัมแล้วส่องดูด้วยกล้องจุลทรรศน์
สรุปแล้ว การวินิจฉัยโรคไข้กาฬหลังแอ่นนั้น โดยการพิจารณาจากอาการทางผิวหนัง คือ จุดเลือดออก (กาฬแดง) จ้ำเลือดคล้ำ (กาฬม่วง) พร้อมกับการยืนยันโดยกาย้อมสีกรัม หรือการ ตรวจน้ำไขสันหลังโดยวิธี counter immunoelectrophoresisเนื่องจากโรคนี้ก่อพยาธิสภาพที่เยื่อหุ้มสมองโรคที่ทำให้เกิดอาการคล้ายกันและพบได้ บ่อยมีอีกหลายชนิดนอกจากนี้ยังมีเชื้อโรคอีกกลุ่มหนึ่งที่ทำให้เกิดอาการใกล้เคียง แต่พบได้ไม่บ่อย เช่น
1. เชื้อในกลุ่ม colon aerogenes-proteus group
2. Salmonella
3. Pseudomonas aerugenosa รวมทั้งเชื้อราบางชนิด
การดำเนินการเมื่อเกิดโรค
เมื่อมีรายงานพบผู้ป่วยด้วยโรคไข้กาฬหลังแอ่น หรือสงสัยจากอาการ หรือแยกเชื้อที่เป็น สาเหตุได้จากเสมหะ หรือได้รับคำบอกเล่าจากครู ผู้ปกครอง หรือเจ้าหน้าที่สาธารณสุข จากสถานพยาบาลต่าง ๆ
จะต้องมีการควบคุมโรคโดยมีจุดมุ่งหมายที่จะค้นหาเชื้อที่เป็นสาเหตุ แหล่งโรควิธี การติดต่อ และกลุ่มบุคคลที่เสี่ยงต่อโรค เพื่อกำหนดมาตรการที่เหมาะสมในการควบคุมการแพร่ กระจายของโรคในชุมชนต่อไป โดยดำเนินการดังนี้ คือ
1. ยืนยันการการวินิจฉัย เป็นสิ่งสำคัญอันดับแรก ซึ่งจะต้องมีการตรวจสอบยืนยันโดย แพทย์ จากลักษณะอาการทางคลินิก และยืนยันผลการย้อมสีและเพาะเลี้ยงเชื้อจากสิ่งส่งตรวจ
2. ให้การรักษาผู้ป่วยทันที
เพื่อเป็นการกำจัดแหล่งโรค องค์การอนามัยโลกได้ให้ข้อเสนอ
แนะในการรักษาไว้ดังนี้ผู้ป่วยทุกกลุ่มอายุที่ป่วยด้วยโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อ
Neisseria ควรรักษาด้วย การฉีด Oily chloramphenicol
เข็มเดียว (ห้ามใช้ยานี้รักษาโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบที่เกิดจากเชื้อ
Streptococcus1. การรณรงค์สร้างเสริมภูมิต้านทานของร่างกาย
2. การให้วัคซีน
3. การเฝ้าระวังโรคการเฝ้าระวังโรคตามวิธีการสำคัญ 2 วิธี คือ การเฝ้าระวังเชิงรุก (active
surveillance) และการเฝ้าระวังเชิงรับ (passive surveillance) ด้านอาการทางคลินิกนั้นพบว่า โรคนี้เป็นโรคติดเชื้อแบคทีเรียชนิดเฉียบพลัน มีอาการสำคัญคือ มีไข้ ปวดศีรษะอย่างรุนแรง มีผื่นเลือดออกใต้ผิวหนัง
(petechial rash) อาการทางสมองที่สำคัญคือ คอแข็ง เพ้อคลั่ง อาเจียน หมดสติ
การตรวจสอบทางห้องปฏิบัติการ
1. การเพาะเชื้อ โดยเก็บวัตถุตัวอย่างไขสันหลัง เลือด หรือสิ่งขับจากจมูกและลำคอ นำมาเพาะเลี้ยงในอาหารพิเศษ
2. การย้อมสีกรัม เนื่องจากคุณสมบัติของเชื้อกลุ่มนี้จะย้อมติดสีกรัมลบ (gram negative) ตรวจโดยนำเลือดที่สะกิดจากผื่นมาป้ายสไลด์ย้อมสีกรัมแล้วส่องดูด้วยกล้องจุลทรรศน์
สรุปแล้ว การวินิจฉัยโรคไข้กาฬหลังแอ่นนั้น โดยการพิจารณาจากอาการทางผิวหนัง คือ จุดเลือดออก (กาฬแดง) จ้ำเลือดคล้ำ (กาฬม่วง) พร้อมกับการยืนยันโดยกาย้อมสีกรัม หรือการ ตรวจน้ำไขสันหลังโดยวิธี counter immunoelectrophoresisเนื่องจากโรคนี้ก่อพยาธิสภาพที่เยื่อหุ้มสมองโรคที่ทำให้เกิดอาการคล้ายกันและพบได้ บ่อยมีอีกหลายชนิดนอกจากนี้ยังมีเชื้อโรคอีกกลุ่มหนึ่งที่ทำให้เกิดอาการใกล้เคียง แต่พบได้ไม่บ่อย เช่น
1. เชื้อในกลุ่ม colon aerogenes-proteus group
2. Salmonella
3. Pseudomonas aerugenosa รวมทั้งเชื้อราบางชนิด
การดำเนินการเมื่อเกิดโรค
เมื่อมีรายงานพบผู้ป่วยด้วยโรคไข้กาฬหลังแอ่น หรือสงสัยจากอาการ หรือแยกเชื้อที่เป็น สาเหตุได้จากเสมหะ หรือได้รับคำบอกเล่าจากครู ผู้ปกครอง หรือเจ้าหน้าที่สาธารณสุข จากสถานพยาบาลต่าง ๆ
จะต้องมีการควบคุมโรคโดยมีจุดมุ่งหมายที่จะค้นหาเชื้อที่เป็นสาเหตุ แหล่งโรควิธี การติดต่อ และกลุ่มบุคคลที่เสี่ยงต่อโรค เพื่อกำหนดมาตรการที่เหมาะสมในการควบคุมการแพร่ กระจายของโรคในชุมชนต่อไป โดยดำเนินการดังนี้ คือ
1. ยืนยันการการวินิจฉัย เป็นสิ่งสำคัญอันดับแรก ซึ่งจะต้องมีการตรวจสอบยืนยันโดย แพทย์ จากลักษณะอาการทางคลินิก และยืนยันผลการย้อมสีและเพาะเลี้ยงเชื้อจากสิ่งส่งตรวจ
pneumonia หรือ Haemophilus influenzae)ผู้สัมผัสโรคใกล้ชิด จะต้องได้รับวัคซีนป้องกันโรคไข้กาฬหลังแอ่นชนิด A และ C แต่ถ้าไม่ทราบ serogroup ให้ใช้วัคซีนชนิด A, 7Y และ W-135ถ้ามีข้อบ่งชี้ว่าเชื้อโรคไข้กาฬหลังแอ่นนั้นไวต่อยา Sulfonamide จะต้องให้ยานี้แก่ ผู้สัมผัสโรคใกล้ชิด เป็นเวลา 2 วันไม่ควรใช้ยา Rifampicin และ Spiramycin เพราะจะทำให้เชื้อหลายสายพันธุ์ของ Mycobacterium tuberculosis (เชื้อวัณโรค) และ Mycobacterium leprae (เชื้อโรคเรื้อน) ดื้อยา Rifampicinการให้การรักษาอย่างทันท่วงที
เป็นสิ่งสำคัญเนื่องจากประมาณครึ่งหนึ่งของผู้ป่วยรุ่นที่ สอง จะเกิดโรคภายใน 5 วัน หลังจากพบผู้ป่วยรายแรก (index case) จึงควรเริ่มให้การรักษาไป ก่อนโดยไม่ต้องรอผลการทดสอบความไวต่อยาของเชื้อ
3. การค้นหาผู้สัมผัส ในทางปฏิบัติขั้นตอนนี้จะต้องทำไปพร้อมกับขั้นตอนที่ 2 การค้นหา ผู้สัมผัสมีวัตถุประสงค์สำคัญ 2 ประการ คือป้องกันการเกิดผู้ป่วยรุ่นที่สองลดอัตราการตาย โดยการวินิจฉัยและทำการรักษาอย่างฉับไว ในระยะเริ่มแรกการค้นหาผู้สัมผัสหรือกลุ่มคนที่มีความเสี่ยงสูงในการติดโรคจะต้องค้นหาให้เร็วที่สุด คนกลุ่มนี้ ได้แก่ผู้ที่อยู่ใกล้ชิดในครัวเรือนเดียวกันเด็กวัยก่อนเรียน ที่อยู่ในสถานเลี้ยงเด็กที่มีผู้ป่วยทุกคนที่สัมผัสกับเสมหะ หรือน้ำมูก หรือน้ำลายของผู้ป่วยในการค้นหาผู้สัมผัส อาจเก็บตัวอย่างเชื้อจากการป้ายคอ เสมหะ เพื่อส่งเพาะเชื้อ พร้อมทั้งบันทึกประวัติอาการและอาการแสดงตามแบบการสอบสวนโรคให้ครบถ้วนสมบูรณ์ แต่ถ้าผู้สัมผัสได้รับยาปฏิชีวนะแล้วมักตรวจเพาะเชื้อไม่พบ
4. การทำลายเชื้อ ในการทำลายเชื้อโรคที่อยู่ภายนอกร่างกาย จะต้องทำทันทีโดยใช้น้ำยา ไลโซล ขนาดความเข้มข้นร้อยละ 0.5 ราดหรือแช่ สิ่งขับถ่ายจากร่างกาย เช่น อาเจียน น้ำมูก น้ำลาย เสมหะ เลือด
น้ำหนองหรือแช่ผ้าเปื้อน สิ่งของเครื่องใช้ของผู้ป่วย นอกจากนี้เมื่อผู้ป่วยได้ย้ายออก จากสถานพยาบาลแล้ว ควรทำลายเชื้อบนที่นอน เครื่องใช้ต่าง ๆ ด้วย
5. สรุปและประเมินผลการควบคุมโรค ข้อมูลการควบคุมโรคควรได้รับการบันทึกรวมทั้ง ข้อสรุปต่าง ๆ
ปัญหาที่พบและการแก้ไขที่ได้ดำเนินการไปแล้วเพื่อประโยชน์ในการศึกษาเตรียม การเฝ้าระวังในช่วงที่โรคสงบ และใช้เป็นข้อมูลการค้นคว้าของเจ้าหน้าที่อื่น และจัดทำรายงาน เพื่อเผยแพร่ต่อผู้ที่เกี่ยวข้อง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น